นันทิวิสาล
1. โค
2. โค, เศรษฐี, พราหมณ์
3. ตอบแทนคุณของพราหมณ์ที่เลี้ยงดูตนมา
4. พราหมณ์ เรียก โคนันทิวิสาลว่าโคชั่ว โคจึงไม่ยอมลากเกวียน จึงทำให้พราหมณ์แพ้พนัน
5. ความกตัญญูรู้บุญคุณต่อผู้มีพระคุณแก่ตน
วันเสาร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
ใบกิจกรรม
เรื่องที่ 1 ความเป็นมาของชาดก
นันทิวิสาลชาดก
นันทิวิสาลชาดก ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นโค อาศัยอยู่กับพราหมณ์ผู้หนึ่ง พราหมณ์มีความรักใคร่และให้การเลี้ยงดูเป็นอย่างดี ตั้งชื่อให้ว่านันทิวิสาล เมื่อโคนันทิวิสาล เจริญวัยขึ้น มีกำลังยิ่งกว่าโคตัวอื่น โคนันทิวิสาลคิดอยู่เสมอว่าจะตอบแทนคุณของพราหมณ์ที่เลี้ยงดูตนมาด้วยความลำบากยากเย็น วันหนึ่งจึงได้บอกแก่พราหมณ์ให้ไปท้าพนันต่อเศรษฐีว่าตนสามารถลากเกวียน ซึ่งบรรทุกกรวดและทรายร้อยเล่มได้ ถ้าเศรษฐีไม่เชื่อก็จงพนันด้วยทรัพย์หนึ่งพันเถิด เมื่อเศรษฐีทราบเรื่องจากพราหมณ์แล้ว ไม่เชื่อว่าโคนันทิวิสาลจะสามารถลากเกวียนร้อยเล่มได้ จึงตกลงรับพนัน
จากนั้นพราหมณ์ก็กลับมาบรรทุกเกวียนด้วยกรวดและทรายจนเต็มทั้งร้อยเล่ม ผูกติดต่อเรียงกันตามลำดับ เมื่อพร้อมแล้วก็กล่าวแก่โคนันทิวิสาลว่า “เฮ้ย เจ้าโคชั่ว เจ้าจงลากเกวียนให้เคลื่อนไปเดี๋ยวนี้” โคนันทิวิสาลได้ฟังเช่นนั้นรู้สึกไม่พอใจจึงยืนนิ่งอยู่ แม้พราหมณ์จะทำประการใดก็ไม่ลากเกวียนไป เศรษฐีจึงทวงทรัพย์หนึ่งพันจากพราหมณ์ตามที่ได้สัญญาไว้ เมื่อแพ้พนันดังนั้น พราหมณ์ก็มีความเศร้าโศกเสียใจไม่ได้นอนไม่หลับ โคนันทิวิสาลเห็นเช่นนั้นก็มีความสงสาร จึงกล่าวแก่พราหมณ์ว่า “ข้าแต่พราหมณ์ นับตั้งแต่ข้าพเจ้ามาอยู่กับท่าน ข้าพเจ้าเคยทำอะไรเสียหายบ้าง เคยทำอันตรายแก่ผู้ใดบ้าง เคยถ่ายอุจจาระปัสสาวะลงในที่ไม่สมควรหรือไม่” พราหมณ์ตอบว่า “ ไม่มีเลย” โคนันทิวิสาลจึงกล่าวว่า “ถ้าเช่นนั้น ทำไมท่านเรียกข้าพเจ้าว่าโคชั่วเล่า การที่ท่านแพ้พนัน เป็นความผิดของท่านเอง ถ้าท่านสำนึกในความผิดของท่านแล้วจงไปท้าพนันต่อเศรษฐีด้วยทรัพย์สองพัน เศรษฐีก็ตกลงรับพนันอีก เมื่อนำโคนันทิวิสาลไปเทียมเกวียนแล้ว พราหมณ์กล่าวแก่โคนันทิวิสาลอย่างอ่อนหวานว่า “ดูกร พ่อมหาจำเริญ พ่อจงลากเกวียนร้อยเล่มนี้ไปเถิด” เมื่อโคนันทิวิสาลได้ฟังดังนั้นก็เกิดความอุตสาหะลากเกวียนร้อยเล่มพ้นไปจากที่นั้น ทำให้พราหมณ์ชนะเศรษฐีได้ทรัพย์สองพัน แล้วกลับบ้านด้วยความปีติยินดี ฯ
คำชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านแล้วตอบคำถามต่อไปนี้
1.
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นอะไร
2.
ตัวละครในเรื่องมีใครบ้าง
3.
ทำไมโคนันทิวิสาล จึงให้พราหมณ์ไปพนันกับเศรษฐี
4.
เหตุใดพราหมณ์จึงแพ้พนันกับเศรษฐี
5.
ข้อคิดที่ได้จากเรื่องโคนันทิวิสาล
นันทิวิสาลชาดก
นันทิวิสาลชาดก ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นโค อาศัยอยู่กับพราหมณ์ผู้หนึ่ง พราหมณ์มีความรักใคร่และให้การเลี้ยงดูเป็นอย่างดี ตั้งชื่อให้ว่านันทิวิสาล เมื่อโคนันทิวิสาล เจริญวัยขึ้น มีกำลังยิ่งกว่าโคตัวอื่น โคนันทิวิสาลคิดอยู่เสมอว่าจะตอบแทนคุณของพราหมณ์ที่เลี้ยงดูตนมาด้วยความลำบากยากเย็น วันหนึ่งจึงได้บอกแก่พราหมณ์ให้ไปท้าพนันต่อเศรษฐีว่าตนสามารถลากเกวียน ซึ่งบรรทุกกรวดและทรายร้อยเล่มได้ ถ้าเศรษฐีไม่เชื่อก็จงพนันด้วยทรัพย์หนึ่งพันเถิด เมื่อเศรษฐีทราบเรื่องจากพราหมณ์แล้ว ไม่เชื่อว่าโคนันทิวิสาลจะสามารถลากเกวียนร้อยเล่มได้ จึงตกลงรับพนัน
จากนั้นพราหมณ์ก็กลับมาบรรทุกเกวียนด้วยกรวดและทรายจนเต็มทั้งร้อยเล่ม ผูกติดต่อเรียงกันตามลำดับ เมื่อพร้อมแล้วก็กล่าวแก่โคนันทิวิสาลว่า “เฮ้ย เจ้าโคชั่ว เจ้าจงลากเกวียนให้เคลื่อนไปเดี๋ยวนี้” โคนันทิวิสาลได้ฟังเช่นนั้นรู้สึกไม่พอใจจึงยืนนิ่งอยู่ แม้พราหมณ์จะทำประการใดก็ไม่ลากเกวียนไป เศรษฐีจึงทวงทรัพย์หนึ่งพันจากพราหมณ์ตามที่ได้สัญญาไว้ เมื่อแพ้พนันดังนั้น พราหมณ์ก็มีความเศร้าโศกเสียใจไม่ได้นอนไม่หลับ โคนันทิวิสาลเห็นเช่นนั้นก็มีความสงสาร จึงกล่าวแก่พราหมณ์ว่า “ข้าแต่พราหมณ์ นับตั้งแต่ข้าพเจ้ามาอยู่กับท่าน ข้าพเจ้าเคยทำอะไรเสียหายบ้าง เคยทำอันตรายแก่ผู้ใดบ้าง เคยถ่ายอุจจาระปัสสาวะลงในที่ไม่สมควรหรือไม่” พราหมณ์ตอบว่า “ ไม่มีเลย” โคนันทิวิสาลจึงกล่าวว่า “ถ้าเช่นนั้น ทำไมท่านเรียกข้าพเจ้าว่าโคชั่วเล่า การที่ท่านแพ้พนัน เป็นความผิดของท่านเอง ถ้าท่านสำนึกในความผิดของท่านแล้วจงไปท้าพนันต่อเศรษฐีด้วยทรัพย์สองพัน เศรษฐีก็ตกลงรับพนันอีก เมื่อนำโคนันทิวิสาลไปเทียมเกวียนแล้ว พราหมณ์กล่าวแก่โคนันทิวิสาลอย่างอ่อนหวานว่า “ดูกร พ่อมหาจำเริญ พ่อจงลากเกวียนร้อยเล่มนี้ไปเถิด” เมื่อโคนันทิวิสาลได้ฟังดังนั้นก็เกิดความอุตสาหะลากเกวียนร้อยเล่มพ้นไปจากที่นั้น ทำให้พราหมณ์ชนะเศรษฐีได้ทรัพย์สองพัน แล้วกลับบ้านด้วยความปีติยินดี ฯ
คำชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านแล้วตอบคำถามต่อไปนี้
1.
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นอะไร
2.
ตัวละครในเรื่องมีใครบ้าง
3.
ทำไมโคนันทิวิสาล จึงให้พราหมณ์ไปพนันกับเศรษฐี
4.
เหตุใดพราหมณ์จึงแพ้พนันกับเศรษฐี
5.
ข้อคิดที่ได้จากเรื่องโคนันทิวิสาล
ใบความรู้
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
ชาดกเป็นคัมภีร์วรรณคดีบาลีในพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท พระพุทธศาสนานิกายนี้ได้แพร่หลายและมีอิทธิพลในประเทศไทยสมัยสุโขทัย สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช พระองค์ทรงนิมนต์พระสังฆราชผู้ซึ่งเป็นนิกายลังกาวงศ์มาจากนครศรีธรรมราชมาประดิษฐานพระพุทธศาสนาในกรุงสุโขทัยเสื่อมใสศรัทธา ดังปรากฏในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง พระสังฆราชได้นำเอาพระคัมภีร์พระไตรปิฎก และอรรถกถามายังสุโขทัย และมีการศึกษาพระคัมภีร์เหล่านั้นในราชสำนักด้วย
ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเรื่องชาดกได้แพร่หลายมากในสมัยพระบาทสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พระองค์ได้ให้นักปราชญ์แต่งมหาชาติคำหลวงขึ้นใน พ.ศ. 2025 ต่อมาพระเจ้าทรงธรรมได้ทรงพระราชนิพนธ์มหาชาติสำนวนไทยขึ้นอีกฉบับหนึ่ง เรียกว่า “กาพย์มหาชาติ”
ในสมัยรัตนโกสินทร์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้โปรดให้มีการทำสังคายนาพระไตรปิฏก เมื่อปี พ.ศ. 2331 คัมภีร์ชาดกซึ่งอยู่ในพระสุตตันตปิฏก ขุททกนิกาย ก็ได้รับการสังคายนาด้วย
การแปลชาดกในประเทศไทย
ก่อนที่จะกล่าวถึงการแปลชาดกในประเทศไทย จะกล่าวถึงการชำระจารึกและการพิมพ์ พระไตรปิฏกในประเทศไทยเสียก่อน เพื่อเป็นการนำเข้าหาหัวข้อการแปลชาดกในประเทศไทย
การชำระจารึกและการพิมพ์พระไตรปิฏกในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 4 สมัย ดังนี้ คือ
สมัยที่ 1 สมัยพระเจ้าติโลกราช เมืองเชียงใหม่ ได้มีการชำระและจารพระไตรปิฏกลงในใบลานด้วยอักษรล้านนาในปี พ.ศ. 2020
สมัยที่ 2 สมัยรัชกาลที่ 1 กรุงเทพ ฯ ได้มีการชำระและจารพระไตรปิฏกด้วยอักษรขอมในปี พ.ศ. 2331
สมัยที่ 3 สมัยรัชกาลที่ 5 ได้มีการชำระ คัดลอกด้วยอักษรขอมและแปลพระไตรปิฏกเป็นอักษรไทย พิมพ์ครั้งแรก 39 เล่มชุด จำนวน 1,000 ชุด ในปี พ.ศ. 2431 – 2436
สมัยที่ 4 สมัยรัชกาลที่ 7 ได้มีการชำระและแปลพระไตรปิฏกเพิ่มจากการพิมพ์ในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็น 6 เล่ม รวมเป็น 45 เล่ม ครบบริบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2468 – 2473
ต่อไปนี้ขอกล่าวถึงการแปลชาดกในประเทศไทย กรแปลนิบาตชาดกมีขึ้นจากพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงการแปล และการพิมพ์นิบาตชาดกดังข้อความตอนหนึ่งว่า “ถ้าหนังสือเช่นนี้มิได้ในเมืองไทยทั้งหมด ก็นับว่าเป็นเครื่องอลังการใหญ่ในหนังสือแลภาษา ของเรา” และด้วยพระราชดำริดังกล่าวนี้ เมื่อคราวบำเพ็ญพระราชกุศลในงานพระศพ พระเจ้าลูกเธอพระองค์เจ้าหญิงศรีวิไลยลักษณ์กรมขุนสุพรรณภาควดี จึงได้ทรงอาราธนาสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสให้เป็นประธาน พร้อมด้วยพระราชาคณะผู้ใหญ่อื่นอีกกับทั้งกรมพระสมมตอมรพันธุ์ ช่วยกันเริ่มแปลนิบาตชาดกถวายตามพระราชประสงค์ทันพิมพ์แจกในงานพระศพครั้งนั้น 3 วรรค รวม 30 นิทาน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราชนิพนธ์กระแสพระราชดำริและพระราชปรารภพิมพ์เป็นคำนำไว้ข้างต้น
ครั้งถึง ปี พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคต พวกบัณฑิตผู้รู้ภาษาบาลีดีทั้งพระภิกษุและฆราวาสปรารภกันว่าควรช่วยกันแปลนิบาตชาดกให้สำเร็จตลอดดังพระราชประสงค์ เพื่อเป็นการบำเพ็ญกุศลสนองพระเดชพระคุณ เมื่อกรรมการหอพระสมุดสำหรับพระนครมีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมตอมรพันธุ์ เป็นประธานได้ทราลและได้ให้การสนับสนุนโดยจัดหาต้นฉบับหนังสือนิบาตชาดกภาษาบาลี รวบรวมหนังสือที่แปลมาแล้วและรับจะจัดพิมพ์ เมื่อความนั้นแพร่ออกไปผู้รู้ภาษาบาลีทั้งพระภิกษุและฆราวาสซึ่งมีศรัทธาได้แปลนิบาตชาดกที่ค้างอยู่สำเร็จและหอพระสมุดสำหรับพระนครได้พิมพ์สำเร็จ
ปัจจุบันนี้ หนังสือนิบาตชาดกฉบับแปลสมบูรณ์ทั้ง 547 เรื่องมีอยู่ 4 ฉบับ คือ ฉบับหอสมุดแห่งชาติ ฉบับของสำนักอบรมครูวัดสามพระยา โดยใช้ชื่อว่า “พระคัมภีร์ชาดกแปล ฉบับ ส.อ.ส.” พิมพ์ในปี พ.ศ. 2493 ฉบับของ ส.ธรรมศักดี มี 5 เล่ม จบบริบูรณ์และฉบับสุดท้าย คือ ฉบับของมหา มกุฏราชวิทยาลัยซึ่งแปลรวมทั้งพระไตรปิฏกและอรรถกถาไว้ในเล่มเดียวกันมี 10 เล่ม นอกจากฉบับที่สมบูรณ์ดังกล่าวมาแล้ว ยังมีผู้นำเอานิบาตชาดกไปใช้ให้เกิดประโยชน์นั่นคือ บางคนเลือกแปลและย่อเฉพาะบางเรื่องที่ง่าย ๆ สำคัญและเหมาะสมสำหรับผู้เรียนผู้อ่านเพื่อเป็นนิทานสุภาษิตหรือเป็นหนังสืออ่านประกอบก็มี
เฉพาะมหานิบาตชาดก คือ ทศชาติ (พระเจ้า 10 ชาติ) มีผู้นำไปแต่งเป็นร้อยกรอง หรือ ร้อยแก้วก็มี เพื่อการเทศน์และการอ่านเพื่อความรู้และความเพลิดเพลิน บางคนเลือกเอาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งมาเรียบเรียงเพื่อสอนเป็นคติเตือนใจในการดำเนินชีวิต บางคนก็เลือกเอาเฉพาะเรื่องที่รู้จักกันทั่ว ๆ ไป นำไปเรียบเรียงให้เข้ากับนิทานพื้นบ้านของไทย ซึ่งทั้งหมดนั้นก็มีจุดมุ่งหมายอย่างเดียวกันคือเป็นคติหรือเป็นเรื่องสอนใจ สามารถนำไปปรับให้เข้ากับการดำเนินชีวิตในปัจจุบันเพื่อให้เกิดสันติสุขตลอดไป
แหล่งกำเนิดของนิทานชาดก นิทานชาดก 547 เรื่อง มีลักษณะเป็นนิทานพื้นบ้านเก่าแก่มีมก่อนพุทธกาลดังพระบรมราชา ธิบายเรื่องนิบาตชาดกของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตอนหนึ่งว่า “ เรื่องชาดกนี้ไม่ใช่เรื่องราวครั้งพุทธกาลเป็นเรื่องมีมาเก่าแก่ก่อนพุทธกาล ที่จะพึงกำนดได้ด้วยหลักฐานหลายอย่าง ถึงในชาดกเองก็รับว่าเป็นเรื่องเก่าด้วยกัน อดีตทุก ๆ แห่ง เมื่อพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรม ถึงที่ควรจะให้ความชัดขึ้นด้วยชักนิทานมากล่าว มาชักมาสาธกให้เห็นความกระจ่างขึ้น คำที่แสดงโดยวิธีนี้เรียกว่า
ชาดกเป็นคัมภีร์วรรณคดีบาลีในพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท พระพุทธศาสนานิกายนี้ได้แพร่หลายและมีอิทธิพลในประเทศไทยสมัยสุโขทัย สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช พระองค์ทรงนิมนต์พระสังฆราชผู้ซึ่งเป็นนิกายลังกาวงศ์มาจากนครศรีธรรมราชมาประดิษฐานพระพุทธศาสนาในกรุงสุโขทัยเสื่อมใสศรัทธา ดังปรากฏในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง พระสังฆราชได้นำเอาพระคัมภีร์พระไตรปิฎก และอรรถกถามายังสุโขทัย และมีการศึกษาพระคัมภีร์เหล่านั้นในราชสำนักด้วย
ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเรื่องชาดกได้แพร่หลายมากในสมัยพระบาทสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พระองค์ได้ให้นักปราชญ์แต่งมหาชาติคำหลวงขึ้นใน พ.ศ. 2025 ต่อมาพระเจ้าทรงธรรมได้ทรงพระราชนิพนธ์มหาชาติสำนวนไทยขึ้นอีกฉบับหนึ่ง เรียกว่า “กาพย์มหาชาติ”
ในสมัยรัตนโกสินทร์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้โปรดให้มีการทำสังคายนาพระไตรปิฏก เมื่อปี พ.ศ. 2331 คัมภีร์ชาดกซึ่งอยู่ในพระสุตตันตปิฏก ขุททกนิกาย ก็ได้รับการสังคายนาด้วย
การแปลชาดกในประเทศไทย
ก่อนที่จะกล่าวถึงการแปลชาดกในประเทศไทย จะกล่าวถึงการชำระจารึกและการพิมพ์ พระไตรปิฏกในประเทศไทยเสียก่อน เพื่อเป็นการนำเข้าหาหัวข้อการแปลชาดกในประเทศไทย
การชำระจารึกและการพิมพ์พระไตรปิฏกในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 4 สมัย ดังนี้ คือ
สมัยที่ 1 สมัยพระเจ้าติโลกราช เมืองเชียงใหม่ ได้มีการชำระและจารพระไตรปิฏกลงในใบลานด้วยอักษรล้านนาในปี พ.ศ. 2020
สมัยที่ 2 สมัยรัชกาลที่ 1 กรุงเทพ ฯ ได้มีการชำระและจารพระไตรปิฏกด้วยอักษรขอมในปี พ.ศ. 2331
สมัยที่ 3 สมัยรัชกาลที่ 5 ได้มีการชำระ คัดลอกด้วยอักษรขอมและแปลพระไตรปิฏกเป็นอักษรไทย พิมพ์ครั้งแรก 39 เล่มชุด จำนวน 1,000 ชุด ในปี พ.ศ. 2431 – 2436
สมัยที่ 4 สมัยรัชกาลที่ 7 ได้มีการชำระและแปลพระไตรปิฏกเพิ่มจากการพิมพ์ในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็น 6 เล่ม รวมเป็น 45 เล่ม ครบบริบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2468 – 2473
ต่อไปนี้ขอกล่าวถึงการแปลชาดกในประเทศไทย กรแปลนิบาตชาดกมีขึ้นจากพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงการแปล และการพิมพ์นิบาตชาดกดังข้อความตอนหนึ่งว่า “ถ้าหนังสือเช่นนี้มิได้ในเมืองไทยทั้งหมด ก็นับว่าเป็นเครื่องอลังการใหญ่ในหนังสือแลภาษา ของเรา” และด้วยพระราชดำริดังกล่าวนี้ เมื่อคราวบำเพ็ญพระราชกุศลในงานพระศพ พระเจ้าลูกเธอพระองค์เจ้าหญิงศรีวิไลยลักษณ์กรมขุนสุพรรณภาควดี จึงได้ทรงอาราธนาสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสให้เป็นประธาน พร้อมด้วยพระราชาคณะผู้ใหญ่อื่นอีกกับทั้งกรมพระสมมตอมรพันธุ์ ช่วยกันเริ่มแปลนิบาตชาดกถวายตามพระราชประสงค์ทันพิมพ์แจกในงานพระศพครั้งนั้น 3 วรรค รวม 30 นิทาน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราชนิพนธ์กระแสพระราชดำริและพระราชปรารภพิมพ์เป็นคำนำไว้ข้างต้น
ครั้งถึง ปี พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคต พวกบัณฑิตผู้รู้ภาษาบาลีดีทั้งพระภิกษุและฆราวาสปรารภกันว่าควรช่วยกันแปลนิบาตชาดกให้สำเร็จตลอดดังพระราชประสงค์ เพื่อเป็นการบำเพ็ญกุศลสนองพระเดชพระคุณ เมื่อกรรมการหอพระสมุดสำหรับพระนครมีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมตอมรพันธุ์ เป็นประธานได้ทราลและได้ให้การสนับสนุนโดยจัดหาต้นฉบับหนังสือนิบาตชาดกภาษาบาลี รวบรวมหนังสือที่แปลมาแล้วและรับจะจัดพิมพ์ เมื่อความนั้นแพร่ออกไปผู้รู้ภาษาบาลีทั้งพระภิกษุและฆราวาสซึ่งมีศรัทธาได้แปลนิบาตชาดกที่ค้างอยู่สำเร็จและหอพระสมุดสำหรับพระนครได้พิมพ์สำเร็จ
ปัจจุบันนี้ หนังสือนิบาตชาดกฉบับแปลสมบูรณ์ทั้ง 547 เรื่องมีอยู่ 4 ฉบับ คือ ฉบับหอสมุดแห่งชาติ ฉบับของสำนักอบรมครูวัดสามพระยา โดยใช้ชื่อว่า “พระคัมภีร์ชาดกแปล ฉบับ ส.อ.ส.” พิมพ์ในปี พ.ศ. 2493 ฉบับของ ส.ธรรมศักดี มี 5 เล่ม จบบริบูรณ์และฉบับสุดท้าย คือ ฉบับของมหา มกุฏราชวิทยาลัยซึ่งแปลรวมทั้งพระไตรปิฏกและอรรถกถาไว้ในเล่มเดียวกันมี 10 เล่ม นอกจากฉบับที่สมบูรณ์ดังกล่าวมาแล้ว ยังมีผู้นำเอานิบาตชาดกไปใช้ให้เกิดประโยชน์นั่นคือ บางคนเลือกแปลและย่อเฉพาะบางเรื่องที่ง่าย ๆ สำคัญและเหมาะสมสำหรับผู้เรียนผู้อ่านเพื่อเป็นนิทานสุภาษิตหรือเป็นหนังสืออ่านประกอบก็มี
เฉพาะมหานิบาตชาดก คือ ทศชาติ (พระเจ้า 10 ชาติ) มีผู้นำไปแต่งเป็นร้อยกรอง หรือ ร้อยแก้วก็มี เพื่อการเทศน์และการอ่านเพื่อความรู้และความเพลิดเพลิน บางคนเลือกเอาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งมาเรียบเรียงเพื่อสอนเป็นคติเตือนใจในการดำเนินชีวิต บางคนก็เลือกเอาเฉพาะเรื่องที่รู้จักกันทั่ว ๆ ไป นำไปเรียบเรียงให้เข้ากับนิทานพื้นบ้านของไทย ซึ่งทั้งหมดนั้นก็มีจุดมุ่งหมายอย่างเดียวกันคือเป็นคติหรือเป็นเรื่องสอนใจ สามารถนำไปปรับให้เข้ากับการดำเนินชีวิตในปัจจุบันเพื่อให้เกิดสันติสุขตลอดไป
แหล่งกำเนิดของนิทานชาดก นิทานชาดก 547 เรื่อง มีลักษณะเป็นนิทานพื้นบ้านเก่าแก่มีมก่อนพุทธกาลดังพระบรมราชา ธิบายเรื่องนิบาตชาดกของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตอนหนึ่งว่า “ เรื่องชาดกนี้ไม่ใช่เรื่องราวครั้งพุทธกาลเป็นเรื่องมีมาเก่าแก่ก่อนพุทธกาล ที่จะพึงกำนดได้ด้วยหลักฐานหลายอย่าง ถึงในชาดกเองก็รับว่าเป็นเรื่องเก่าด้วยกัน อดีตทุก ๆ แห่ง เมื่อพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรม ถึงที่ควรจะให้ความชัดขึ้นด้วยชักนิทานมากล่าว มาชักมาสาธกให้เห็นความกระจ่างขึ้น คำที่แสดงโดยวิธีนี้เรียกว่า
แบบทดสอบก่อน- หลังเรียน
คำชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมายกากบาท (X) บนตัวอักษรหน้าข้อความที่เป็นคำตอบที่ถูกต้องที่สุดของแต่ละข้อ (ข้อละ 1 คะแนน)
1. ชาดก แปลว่า อะไร
ก. ผู้วิเศษ ข. ผู้เกิดแล้ว
ค. ผู้เจริญ ง. ผู้หยั่งรู้
2. ชาดก มีกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท ข. 4 ประเภท
ค. 6 ประเภท ง. 8 ประเภท
3. นิทานชาดก มีแหล่งกำเนิดจากชาติใด
ก. เนปาล อังกฤษ จีน ข. อินโดนีเซีย ฝรั่งเศส ไซนีเรีย
ค. อินเดีย กรีก เปอร์เซีย ง. ฟิลิปปินส์ ฮอลแลนด์ อิรัก
4. มโหสถ เป็นชาดกที่ให้ข้อคิดเรื่องใด
ก. ความเพียร ข. ความมีปัญญา
ค. ความกตัญญู ง. ความอดทน
5. ทศชาติชาดก หมายถึง
ก. พระเจ้า 8 ชาติ ข. พระเจ้า 9 ชาติ
ค. พระเจ้า 10 ชาติ ง. พระเจ้า 11 ชาติ
6. การนำชาดกเข้าใจในประเทศไทย สมัยใด
ก. อู่ทอง ข. สุโขทัย
ค. รัตนโกสินทร์ ง. อยุธยา
7. นารทชาดกให้ข้อคิดเรื่องใด
ก. ความอดทน ข. ความกตัญญู
ค. ความมีปัญญา ข. ความไม่ประมาท
8. โทษของการไม่ซื่อสัตย์ คือข้อใด
ก. มีแต่คนรัก ข. เป็นที่ต้องการของคนรอบข้าง
ค. ต้องอยู่อย่างโดดเดี่ยว ง. ไม่มีข้อถูก
9. ประโยชน์จากชาดก คือข้อใด
ก. ใช้เป็นสิ่งยึดเหนี่ยว ข. ใช้เป็นแบบอย่าง
ค. ใช้เป็นคติเตือนใจ ง. ถูกทุกข้อ
10. นกกาจึงโดนพ่อครัวถอนขน เพราะเหตุใด
ก. มีนิสัยขี้ขโมย ข. มีนิสัยประจบประแจง
ค. มีนิสัยรักสงบ ง. มีนิสัยพูดจาเพ้อเจ้อ
1. ชาดก แปลว่า อะไร
ก. ผู้วิเศษ ข. ผู้เกิดแล้ว
ค. ผู้เจริญ ง. ผู้หยั่งรู้
2. ชาดก มีกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท ข. 4 ประเภท
ค. 6 ประเภท ง. 8 ประเภท
3. นิทานชาดก มีแหล่งกำเนิดจากชาติใด
ก. เนปาล อังกฤษ จีน ข. อินโดนีเซีย ฝรั่งเศส ไซนีเรีย
ค. อินเดีย กรีก เปอร์เซีย ง. ฟิลิปปินส์ ฮอลแลนด์ อิรัก
4. มโหสถ เป็นชาดกที่ให้ข้อคิดเรื่องใด
ก. ความเพียร ข. ความมีปัญญา
ค. ความกตัญญู ง. ความอดทน
5. ทศชาติชาดก หมายถึง
ก. พระเจ้า 8 ชาติ ข. พระเจ้า 9 ชาติ
ค. พระเจ้า 10 ชาติ ง. พระเจ้า 11 ชาติ
6. การนำชาดกเข้าใจในประเทศไทย สมัยใด
ก. อู่ทอง ข. สุโขทัย
ค. รัตนโกสินทร์ ง. อยุธยา
7. นารทชาดกให้ข้อคิดเรื่องใด
ก. ความอดทน ข. ความกตัญญู
ค. ความมีปัญญา ข. ความไม่ประมาท
8. โทษของการไม่ซื่อสัตย์ คือข้อใด
ก. มีแต่คนรัก ข. เป็นที่ต้องการของคนรอบข้าง
ค. ต้องอยู่อย่างโดดเดี่ยว ง. ไม่มีข้อถูก
9. ประโยชน์จากชาดก คือข้อใด
ก. ใช้เป็นสิ่งยึดเหนี่ยว ข. ใช้เป็นแบบอย่าง
ค. ใช้เป็นคติเตือนใจ ง. ถูกทุกข้อ
10. นกกาจึงโดนพ่อครัวถอนขน เพราะเหตุใด
ก. มีนิสัยขี้ขโมย ข. มีนิสัยประจบประแจง
ค. มีนิสัยรักสงบ ง. มีนิสัยพูดจาเพ้อเจ้อ
นวัตกรรมชุดการสอน
ชุดการเรียนการสอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระพระพุทธศาสนา)
เรื่อง ชาดก เวลา ชั่วโมง
จัดทำโดย ศศิกาญจน์ ทรัพย์ประเสริฐ
คำชี้แจงในการใช้ชุดการเรียนการสอน
ชุดการเรียนการสอนนี้จัดทำขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามขั้นตอนที่กำหนด ซึ่งเมื่อจบการเรียนการสอนที่ 1 แล้วนักเรียนจะมีความรู้เกี่ยวกับความเป็นมาของชาดก ความสำคัญของชาดก ประโยชน์ของชาดก และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
ชุดการเรียนการสอนที่ 1 ประกอบด้วย 3 เรื่อง คือ
เรื่องที่ 1 ความเป็นมาของชาดก
เรื่องที่ 2 ความสำคัญของชาดก
เรื่องที่ 3 ประโยชน์ของชาดก
ชุดการเรียนการสอนแต่ละเรื่องจะประกอบด้วยส่วนประกอบ ดังนี้
1. บัตรคำสั่ง
2. เนื้อหาบัตร
3. บัตรฝึกหัดด้านความรู้ และบัตรเฉลย
4. บัตรทดสอบ และเฉลยบัตรทดสอบ (เมื่อเรียนจบชุดการเรียนรู้เรื่องที่ 3 แล้ว)
ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1
คำชี้แจง : นักเรียนศึกษาความรู้ในชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 เรื่องที่ 1 ความเป็นมาของชาดก
1. ศึกษาบัตรเนื้อหา (เอกสารความรู้)
2. ทำใบกิจกรรมที่ 7.1
3. ตรวจคำตอบ ถ้าไม่ถูกให้ศึกษาความรู้ในบัตรเนื้อหาใหม่ แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง
4. ทำกิจกรรมเสริม
5. ตรวจคำตอบจากแบบเฉลย ถ้าไม่ถูกให้กลับไปศึกษาความรู้ในบัตรเนื้อหาใหม่แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง
ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1
คำชี้แจง : นักเรียนศึกษาความรู้ในชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 เรื่องที่ 2 ความสำคัญของชาดก ตามขั้นตอนต่อไปนี้
1. ศึกษาใบความรู้
2. ทำใบกิจกรรมที่ 7.2
3. ตรวจคำตอบ ถ้าไม่ถูกให้ศึกษาความรู้ในใบความรู้ แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง
4. ทำกิจกรรมเสริม
5. ตรวจคำตอบจากแบบเฉลย ถ้าไม่ถูกให้กลับไปศึกษาความรู้ในบัตรเนื้อหาใหม่แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง
6. ทำแบบทดสอบชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 เรื่องที่ 2 ด้วยความซื่อสัตย์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระพระพุทธศาสนา)
เรื่อง ชาดก เวลา ชั่วโมง
จัดทำโดย ศศิกาญจน์ ทรัพย์ประเสริฐ
คำชี้แจงในการใช้ชุดการเรียนการสอน
ชุดการเรียนการสอนนี้จัดทำขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามขั้นตอนที่กำหนด ซึ่งเมื่อจบการเรียนการสอนที่ 1 แล้วนักเรียนจะมีความรู้เกี่ยวกับความเป็นมาของชาดก ความสำคัญของชาดก ประโยชน์ของชาดก และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
ชุดการเรียนการสอนที่ 1 ประกอบด้วย 3 เรื่อง คือ
เรื่องที่ 1 ความเป็นมาของชาดก
เรื่องที่ 2 ความสำคัญของชาดก
เรื่องที่ 3 ประโยชน์ของชาดก
ชุดการเรียนการสอนแต่ละเรื่องจะประกอบด้วยส่วนประกอบ ดังนี้
1. บัตรคำสั่ง
2. เนื้อหาบัตร
3. บัตรฝึกหัดด้านความรู้ และบัตรเฉลย
4. บัตรทดสอบ และเฉลยบัตรทดสอบ (เมื่อเรียนจบชุดการเรียนรู้เรื่องที่ 3 แล้ว)
ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1
คำชี้แจง : นักเรียนศึกษาความรู้ในชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 เรื่องที่ 1 ความเป็นมาของชาดก
1. ศึกษาบัตรเนื้อหา (เอกสารความรู้)
2. ทำใบกิจกรรมที่ 7.1
3. ตรวจคำตอบ ถ้าไม่ถูกให้ศึกษาความรู้ในบัตรเนื้อหาใหม่ แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง
4. ทำกิจกรรมเสริม
5. ตรวจคำตอบจากแบบเฉลย ถ้าไม่ถูกให้กลับไปศึกษาความรู้ในบัตรเนื้อหาใหม่แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง
ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1
คำชี้แจง : นักเรียนศึกษาความรู้ในชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 เรื่องที่ 2 ความสำคัญของชาดก ตามขั้นตอนต่อไปนี้
1. ศึกษาใบความรู้
2. ทำใบกิจกรรมที่ 7.2
3. ตรวจคำตอบ ถ้าไม่ถูกให้ศึกษาความรู้ในใบความรู้ แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง
4. ทำกิจกรรมเสริม
5. ตรวจคำตอบจากแบบเฉลย ถ้าไม่ถูกให้กลับไปศึกษาความรู้ในบัตรเนื้อหาใหม่แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง
6. ทำแบบทดสอบชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 เรื่องที่ 2 ด้วยความซื่อสัตย์
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
หน่วยที่ 7 เรื่อง ชาดก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
วันที่ 8 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 เวลา ..................................... ผู้สอน ศศิกาญจน์ ทรัพย์ประเสริฐ
สถานที่ โรงเรียนวัดสันติการาม ครั้งที่ 1
สาระสำคัญ
ชาดก เป็นเรื่องราวอดีตชาติของพระพุทธเจ้า มีจุดมุ่งหมายในการสอนใจสามารถนำไปปรับให้เข้ากับการดำเนินชีวิตในปัจจุบันเพื่อให้เกิดสันติสุข
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ปลายทาง
- นักเรียนอธิบายชาดกได้อย่างถูกต้อง
จุดประสงค์นำทาง
- นักเรียนอธิบายประวัติความเป็นมาของชาดกได้อย่างถูกต้อง
- นักเรียนอธิบายความสำคัญของชาดกได้อย่างถูกต้อง
- นักเรียนอธิบายประโยชน์ของชาดกได้อย่างถูกต้อง
สาระการเรียนรู้
ชาดก
1. ประวัติความเป็นมาของชาดก
2. ความสำคัญของชาดก
3. ประโยชน์ของชาดก
กระบวนการเรียนรู้
ขั้นตอนอธิบายประวัติความเป็นมาของชาดก
1.1 จัดทำชั้นเรียน นักเรียนนั่งตามปกติ
1.2 เร้าความสนใจโดยการเล่านิทานมโหสถชาดกให้นักเรียนฟังพร้อมกัน
1.3 ครูอธิบายนิทานมโหสถชาดกให้นักเรียนฟังพร้อมกำหนดภาระงานให้นักเรียนเลือกคำตอบมาเติมในช่องว่างทำในใบกิจกรรมที่ 7.1
1.4 ปฏิบัติตามภาระงาน โดยแข่งขันกันภายในเวลา 10 นาที
1.5 แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อน
1.6 นำเสนอหน้าห้อง โดยสุ่มนักเรียนในห้องออกมาอภิปรายใช้เวลา 3 นาที
1.7 ประเมินสรุปผล
ขั้นตอนอธิบายความสำคัญของชาดก
2.1 จัดทำชั้นเรียน นักเรียนนั่งตามปกติ
2.2 เร้าความสนใจ โดยการเล่านิทานเรื่องนารทชาดกให้นักเรียนฟังพร้อมกัน
2.3 ครูอธิบายนิทานเรื่องนารทชาดก พร้อมกำหนดภาระงานให้นักเรียนตอบคำถามจากการฟังนิทานเรื่องนารทชาดก ลงในใบกิจกรรมที่ 7.2
2.4 ปฏิบัติตามภาระงาน โดยแข่งขันกันภายในเวลา 10 นาที
2.5 แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อน
2.6 นำเสนอผลงานหน้าห้อง โดยสุ่มนักเรียนออกมาอภิปรายใช้เวลา 3 นาที
2.7 ประเมินสรุปผล
ขั้นตอนอธิบายประโยชน์ของชาดก
3.1 จัดทำชั้นเรียน นักเรียนนั่งตามปกติ
3.2 เร้าความสนใจ โดยการเล่านิทานเรื่องนกพิราบกับนกกาเจ้าเล่ห์ ให้นักเรียนฟังพร้อมกัน
3.3 ครูอธิบายนิทานเรื่องนกพิราบกับนกกาเจ้าเล่ห์พร้อมกำหนดภาระงานให้นักเรียนตอบถึงประโยชน์ของชาดกจากการฟังนิทานชาดก ลงในใบกิจกรรมที่ 7.3
3.4 ปฏิบัติตามภาระงาน โดยแข่งขันกันภายในเวลา 10 นาที
3.5 แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อน
3.6 นำเสนอผลงานหน้าห้อง โดยสุ่มนักเรียนออกมาอภิปรายใช้เวลา 3 นาที
3.7 ประเมินสรุปผล
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. 2 นิทานชาดกมโหสถ
1.3 ใบกิจกรรม 7.1
1.4 กติกาการแข่งขัน
1.5 แลกเปลี่ยนเรียนรู้
2. 2 นิทานนารทชาดก
2.3 ใบกิจกรรม 7.2
2.4 กติกาการแข่งขัน
2.5 แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3.2 นิทานนกพิราบกับนกกาเจ้าเล่ห์
3.3 ใบกิจกรรม 7.3
3.4 กติกาการแข่งขัน
การวัดผลและประเมินผล
วิธีการวัดผล
1. วัดผลการอธิบายประวัติความเป็นมาของชาดก ด้วยการตรวจการอธิบายตามใบกิจกรรม 7.1 โดยการยึดเกณฑ์ถูกต้อง
2. วัดผลการอธิบายความสำคัญของชาดก ด้วยการตรวจการอธิบายตามใบกิจกรรม 7.2 โดย การยึดเกณฑ์ถูกต้อง
3. วัดผลการอธิบายประโยชน์ของชาดก ด้วยการตรวจผลการอธิบายตามใบกิจกรรม 7.3 โดยยึดเกณฑ์ถูกต้อง
การประเมินผล
1. ประเมินผลการอธิบาย พบว่า นักเรียน..............คน อธิบายไม่ได้ แก้ไขด้วยการอธิบายเรื่องชาดกให้นักเรียนฟัง เพิ่มเติมนอกเวลา
2. ประเมินผลการอธิบายความสำคัญของชาดก พบว่า..............คน อธิบายไม่ได้ แก้ไขด้วยการอธิบายเรื่องความสำคัญของชาดกให้นักเรียนฟัง เพิ่มเติมนอกเวลา
3. ประเมินผลการอธิบายประโยชน์ของชาดก พบว่า นักเรียน.............คน อธิบายไม่ได้ แก้ไขด้วยการอธิบายเรื่องประโยชน์ของชาดกให้นักเรียนฟัง เพิ่มเติมนอกเวลา
บันทึกหลังการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
ใบกิจกรรม 7.1
ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. ชาดก แปลว่า ...............................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
2. ความหมายของชาดก คือ...............................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
3. แหล่งกำเนิดนิทานชาดก ได้มาจากที่ใด
...........................................................................................................................................................................
4. ชาดก ได้ถูกนำเข้ามาในประเทศไทยสมัยใด
...........................................................................................................................................................................
5. ชาดก เป็นคัมภีร์วรรณคดีบาลีในพุทธศาสนา นิกายใด
...........................................................................................................................................................................
6. ทศชาติชาดก คือ ..........................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
7. จากการที่นักเรียนได้ฟังมโหสถชาดก นักเรียนได้ข้อคิดอะไรบ้าง
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ชื่อ..........................................นามสกุล..........................................เลขที่..................
ใบกิจกรรม 7.2
ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. นักเรียนคิดว่านักเรียนได้ข้อคิดอย่างไรเกี่ยวกับนิทานชาดกเรื่องฝูงนกกระจาบแตกความสามัคคี
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
2. นักเรียนชอบตัวละครในนิทานชาดก เพราะอะไร จงอธิบาย
......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
3. นักเรียนคิดว่า ความสำคัญของชาดก คืออะไร
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
4. เพราะเหตุใด จึงมีการแต่งเป็นนิทานในการสอนธรรมะ
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
ชื่อ..........................................นามสกุล..........................................เลขที่..................
ใบกิจกรรม 7.3
ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. นักเรียนคิดว่าจากการฟังนิทานชาดกเรื่อง คำเตือนของพ่อ นักเรียนได้ข้อคิดอย่างไร
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
2. นักเรียนได้นำข้อคิดจากนิทานชาดก เรื่องคำเตือนของพ่อ ไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไรบ้าง
......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
3. การนำนิทานชาดกเข้ามาใช้ในการสอนธรรมะ นักเรียนคิดว่าได้ประโยชน์จากการศึกษาธรรมะในทางพระพุทธศาสนาอย่างไรบ้าง
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
ชื่อ..........................................นามสกุล..........................................เลขที่..................
หน่วยที่ 7 เรื่อง ชาดก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
วันที่ 8 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 เวลา ..................................... ผู้สอน ศศิกาญจน์ ทรัพย์ประเสริฐ
สถานที่ โรงเรียนวัดสันติการาม ครั้งที่ 1
สาระสำคัญ
ชาดก เป็นเรื่องราวอดีตชาติของพระพุทธเจ้า มีจุดมุ่งหมายในการสอนใจสามารถนำไปปรับให้เข้ากับการดำเนินชีวิตในปัจจุบันเพื่อให้เกิดสันติสุข
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ปลายทาง
- นักเรียนอธิบายชาดกได้อย่างถูกต้อง
จุดประสงค์นำทาง
- นักเรียนอธิบายประวัติความเป็นมาของชาดกได้อย่างถูกต้อง
- นักเรียนอธิบายความสำคัญของชาดกได้อย่างถูกต้อง
- นักเรียนอธิบายประโยชน์ของชาดกได้อย่างถูกต้อง
สาระการเรียนรู้
ชาดก
1. ประวัติความเป็นมาของชาดก
2. ความสำคัญของชาดก
3. ประโยชน์ของชาดก
กระบวนการเรียนรู้
ขั้นตอนอธิบายประวัติความเป็นมาของชาดก
1.1 จัดทำชั้นเรียน นักเรียนนั่งตามปกติ
1.2 เร้าความสนใจโดยการเล่านิทานมโหสถชาดกให้นักเรียนฟังพร้อมกัน
1.3 ครูอธิบายนิทานมโหสถชาดกให้นักเรียนฟังพร้อมกำหนดภาระงานให้นักเรียนเลือกคำตอบมาเติมในช่องว่างทำในใบกิจกรรมที่ 7.1
1.4 ปฏิบัติตามภาระงาน โดยแข่งขันกันภายในเวลา 10 นาที
1.5 แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อน
1.6 นำเสนอหน้าห้อง โดยสุ่มนักเรียนในห้องออกมาอภิปรายใช้เวลา 3 นาที
1.7 ประเมินสรุปผล
ขั้นตอนอธิบายความสำคัญของชาดก
2.1 จัดทำชั้นเรียน นักเรียนนั่งตามปกติ
2.2 เร้าความสนใจ โดยการเล่านิทานเรื่องนารทชาดกให้นักเรียนฟังพร้อมกัน
2.3 ครูอธิบายนิทานเรื่องนารทชาดก พร้อมกำหนดภาระงานให้นักเรียนตอบคำถามจากการฟังนิทานเรื่องนารทชาดก ลงในใบกิจกรรมที่ 7.2
2.4 ปฏิบัติตามภาระงาน โดยแข่งขันกันภายในเวลา 10 นาที
2.5 แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อน
2.6 นำเสนอผลงานหน้าห้อง โดยสุ่มนักเรียนออกมาอภิปรายใช้เวลา 3 นาที
2.7 ประเมินสรุปผล
ขั้นตอนอธิบายประโยชน์ของชาดก
3.1 จัดทำชั้นเรียน นักเรียนนั่งตามปกติ
3.2 เร้าความสนใจ โดยการเล่านิทานเรื่องนกพิราบกับนกกาเจ้าเล่ห์ ให้นักเรียนฟังพร้อมกัน
3.3 ครูอธิบายนิทานเรื่องนกพิราบกับนกกาเจ้าเล่ห์พร้อมกำหนดภาระงานให้นักเรียนตอบถึงประโยชน์ของชาดกจากการฟังนิทานชาดก ลงในใบกิจกรรมที่ 7.3
3.4 ปฏิบัติตามภาระงาน โดยแข่งขันกันภายในเวลา 10 นาที
3.5 แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อน
3.6 นำเสนอผลงานหน้าห้อง โดยสุ่มนักเรียนออกมาอภิปรายใช้เวลา 3 นาที
3.7 ประเมินสรุปผล
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. 2 นิทานชาดกมโหสถ
1.3 ใบกิจกรรม 7.1
1.4 กติกาการแข่งขัน
1.5 แลกเปลี่ยนเรียนรู้
2. 2 นิทานนารทชาดก
2.3 ใบกิจกรรม 7.2
2.4 กติกาการแข่งขัน
2.5 แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3.2 นิทานนกพิราบกับนกกาเจ้าเล่ห์
3.3 ใบกิจกรรม 7.3
3.4 กติกาการแข่งขัน
การวัดผลและประเมินผล
วิธีการวัดผล
1. วัดผลการอธิบายประวัติความเป็นมาของชาดก ด้วยการตรวจการอธิบายตามใบกิจกรรม 7.1 โดยการยึดเกณฑ์ถูกต้อง
2. วัดผลการอธิบายความสำคัญของชาดก ด้วยการตรวจการอธิบายตามใบกิจกรรม 7.2 โดย การยึดเกณฑ์ถูกต้อง
3. วัดผลการอธิบายประโยชน์ของชาดก ด้วยการตรวจผลการอธิบายตามใบกิจกรรม 7.3 โดยยึดเกณฑ์ถูกต้อง
การประเมินผล
1. ประเมินผลการอธิบาย พบว่า นักเรียน..............คน อธิบายไม่ได้ แก้ไขด้วยการอธิบายเรื่องชาดกให้นักเรียนฟัง เพิ่มเติมนอกเวลา
2. ประเมินผลการอธิบายความสำคัญของชาดก พบว่า..............คน อธิบายไม่ได้ แก้ไขด้วยการอธิบายเรื่องความสำคัญของชาดกให้นักเรียนฟัง เพิ่มเติมนอกเวลา
3. ประเมินผลการอธิบายประโยชน์ของชาดก พบว่า นักเรียน.............คน อธิบายไม่ได้ แก้ไขด้วยการอธิบายเรื่องประโยชน์ของชาดกให้นักเรียนฟัง เพิ่มเติมนอกเวลา
บันทึกหลังการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
ใบกิจกรรม 7.1
ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. ชาดก แปลว่า ...............................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
2. ความหมายของชาดก คือ...............................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
3. แหล่งกำเนิดนิทานชาดก ได้มาจากที่ใด
...........................................................................................................................................................................
4. ชาดก ได้ถูกนำเข้ามาในประเทศไทยสมัยใด
...........................................................................................................................................................................
5. ชาดก เป็นคัมภีร์วรรณคดีบาลีในพุทธศาสนา นิกายใด
...........................................................................................................................................................................
6. ทศชาติชาดก คือ ..........................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
7. จากการที่นักเรียนได้ฟังมโหสถชาดก นักเรียนได้ข้อคิดอะไรบ้าง
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ชื่อ..........................................นามสกุล..........................................เลขที่..................
ใบกิจกรรม 7.2
ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. นักเรียนคิดว่านักเรียนได้ข้อคิดอย่างไรเกี่ยวกับนิทานชาดกเรื่องฝูงนกกระจาบแตกความสามัคคี
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
2. นักเรียนชอบตัวละครในนิทานชาดก เพราะอะไร จงอธิบาย
......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
3. นักเรียนคิดว่า ความสำคัญของชาดก คืออะไร
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
4. เพราะเหตุใด จึงมีการแต่งเป็นนิทานในการสอนธรรมะ
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
ชื่อ..........................................นามสกุล..........................................เลขที่..................
ใบกิจกรรม 7.3
ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. นักเรียนคิดว่าจากการฟังนิทานชาดกเรื่อง คำเตือนของพ่อ นักเรียนได้ข้อคิดอย่างไร
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
2. นักเรียนได้นำข้อคิดจากนิทานชาดก เรื่องคำเตือนของพ่อ ไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไรบ้าง
......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
3. การนำนิทานชาดกเข้ามาใช้ในการสอนธรรมะ นักเรียนคิดว่าได้ประโยชน์จากการศึกษาธรรมะในทางพระพุทธศาสนาอย่างไรบ้าง
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
ชื่อ..........................................นามสกุล..........................................เลขที่..................
วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2551
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)